เตมเปกับสุขภาพ

เครดิตภาพ จาก นิตยสารหมอชาวบ้าน ประจำเดือน กันยายน 2564

ตารางแบ่งประเภทอาหารที่มีผลทำให้เกิดอาการเก๊าท์กำเริบได้ (สารพิวรีนสูง) พบว่า ถั่วเหลืองควรทานปริมาณจำกัด ถ้าจะทานเต็มเปจะต้องเลือกชนิดที่ทำจากธัญพืชที่มีสารพิวรีนต่ำ

ข้อความด้านล่าง อาจจะมีความเห็นที่แตกต่างไป จึงควรจะเลือกทางสายกลาง ในการเลือกรับประทานเต็มเปให้ถูกต้อง

มีหลายคนมีภาวะกรดยูริคในร่างกายสูงหรือเป็นโรคเก๊าท์อาจจะไม่แน่ใจว่าจะรับประทานเตมเปได้หรือไม่ จึงได้นำบทความจากเวบไซต์ www.soya.be (http://www.soya.be/forum/viewtopic.php?t=124) มาอ้างอิงดังนี้

Uric acid is not consumed with food but uric acid is a normal product of our metabolism of purines. The disease gout is characterized by elevated blood levels of uric acid. This may be caused by other diseases that increase production or decrease the excretion of uric acid.Watch movie online The Transporter Refueled (2015)

Here are purine levels of some foods (per 100g):

– liver: 230 mg
– soybeans: 120 mg
– meat: 60-90 mg
– tofu: 29 mg
– brocolli: 21 mg
– cheese: 5 -13 mg
– apple: 6 mg

Soy belongs to the food products with moderate to high levels of purines. The purine level in soybeans seems high but soy is also rich in other nutrients. For the same amount of protein, soybeans and other soy products (tofu, tempeh, soymilk) contain less purines than meat and vegetables.

If you suffer from gout, you can eat soy products in moderation, in the context of a healthy and low fat diet. Following foods should be eliminated: anchovies, sardines, herring, mackerel, scallops and most organs (kidneys, brains and liver). Alcohol increases purine production and should only be consumed in moderate amount

จากบทความด้านบนซึ่งได้อธิบายว่า ถ้ารับประทานอาหารที่มีสารพิวรีนสูงจะส่งผลให้กรดยูริคในเลือดสูงขึ้นตามด้วย ผู้ป่วยโรคเก๊าท์จึงควรเลี่ยงอาหารที่มีสารพิวรีนสูง โดยได้ยกตัวอย่างเปรียบเทียบ ปริมาณตับ 100 กรัม จะมีสารพิวรีน 230 มิลลิกรัม ส่วนถั่วเหลืองจะมี 120 มิลลิกรัม (ประมาณครึ่งหนึ่ง) และเมื่อนำไปทำเป็นเต็มเปแล้ว ปริมาณสารพิวรีนต่อเทมเป้ 100 กรัม จะไม่ถึง 120 มิลลิกรัม เพราะมีน้ำหนักของเส้นใยเชื้อรารวมปริมาณน้ำที่มีในเต็มเปด้วย และเมื่อเทียบกับตารางการแนะนำอาหารของผู้ป่วยโรคเก๊าท์จาก http://caldwellpe.com/wp-content/uploads/2010/10/Protein-Type-Diet-Plan.pdf ซึ่งได้ระบุว่าอาหารที่ทำจากเต้าหู้และเต็มเป อยู่ในกลุ่มที่มีสารพิวรีนต่ำ
ดังนั้นผู้ป่วยโรคเก๊าท์และผู้ที่มีภาวะกรดยูริคค่อนข้างสูง สามารถรับประทานเต็มเปได้ โดยไม่ต้องกังวลมาก นอกจากจะรับประทานในปริมาณมาก เช่น รับประทานเต็มเปต้มทีละ 1 ขีด แทนข้าวทุกมื้อ อาจจะส่งผลให้กรดยูริคสูงได้เช่นกัน

Comments are closed.